ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันทางดิจิทัลของประเทศ - Open Government Data of Thailand
ขนาดตัวอักษร |    
ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันทางดิจิทัลของประเทศ
คะแนนความนิยม
องค์กร : สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
facebook   twiter

● อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัลของประเทศไทยตามการจัดอันดับของ IMD (World Digital Competitiveness Ranking) - เป็นตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับร่างแผนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ (ฉบับปรับปรุง) กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การเพิ่มโอกาสของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กในอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมาย ตัวชี้วัด 2.2 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการใช้ เครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัลอยู่ในกลุ่มอันดับ 1 ใน 36 ในปี 2565 โดยสถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) - วัดคะแนนจากผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัลของโลก World Digital Competitiveness ของประเทศไทย ตามการจัดอันดับของ IMD ประจำปี (อันดับรวม) - เป็นการประเมินเพื่อสะท้อนการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่ IMD เริ่มเผยแพร่การประเมินครั้งแรกในปี 2017 มีประเทศทั้งหมด 63 ประเทศ - ประกอบด้วยตัววัดทั้งหมด 52 criteria แบ่งเป็น 3 ด้านหลัก คือ 1) Knowledge 2) Technology 3) Future Readiness - การเก็บข้อมูลแบ่งเป็น 1. Hard Data (32 criteria) 2. Survey Data (20 criteria) - IMD รายงานผลในเดือนมิถุนายนของทุกปีซึ่งประเทศไทยมีสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (Thailand Management Association : TMA) เป็น Partnership

● อันดับความสามารถทางการแข่งขันด้าน Technological Infrastructure ของประเทศไทยตามการจัดอันดับของ IMD - เป็นการประเมินประสิทธิผลในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อรองรับการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยพิจารณาจากอันดับความสามารถทางการแข่งขันด้าน Technological Infrastructure ของประเทศไทยตามการจัดอันดับของ IMD - วัดคะแนนจากผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันในด้าน Technological Infrastructure ของประเทศไทย ตามการจัดอันดับของ IMD (WCY 2022) (อันดับรวม) - สำหรับประเมินคุณภาพโครงสร้างพื้นฐานของ International Institute for Management Development (IMD) จาก The World Competitiveness Yearbook (WCY) ที่ประกอบด้วยปัจจัยด้านการแข่งขัน 4 ปัจจัย คือ (1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (2) ประสิทธิภาพของภาครัฐ (3) ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ (4) โครงสร้างพื้นฐาน - สำหรับปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน แบ่งออกเป็น 4 ปัจจัยย่อย ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานทั่วไป (Basic Infrastructure) โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี (Technology Infrastructure) โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Infrastructure) สุขภาพและสิ่งแวดล้อม (Health and Environment) การศึกษา (Education) - ข้อมูลที่นำมาใช้เป็นเกณฑ์ชี้วัดมาจากสองทาง คือ - Hard data (น้ำหนัก 2 ใน 3) เป็นข้อมูลที่ได้จากองค์กรระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยความร่วมมือจาก 55 สถาบัน (Partner Institutes) แบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ส่วนย่อย คือ Hard data และ Background data - Soft data (น้ำหนัก 1 ใน 3) เป็นข้อมูลจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ (Executive Opinion Survey Data) ซึ่ง ได้จากการสอบถามข้อมูลจากผู้บริหารตั้งแต่ระดับกลางจนถึงระดับสูง - IMD รายงานผลทุกปี ซึ่งประเทศไทยมีสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (Thailand Management Association: TMA) เป็น Partnership

Data source cannot be displayed.
ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันทางดิจิทัลของประเทศ
มุมมอง :
Visualization
{{current_url}}?id={{cur_meta.id}}&is_fullscreen=1
ข้อมูลทรัพยากร : {{cur_meta.name}}
วันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล
รหัสทรัพยากรข้อมูล
รายละเอียด
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล
ปีที่เริ่มต้นจัดทำเนื้อหาข้อมูล
ปีล่าสุดที่จัดทำเนื้อหาข้อมูล
การจัดจำแนก
หน่วยวัด
หน่วยตัวคูณ
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด
วันที่เผยแพร่เนื้อหาข้อมูล
สถิติทางการ
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล 04c72abe-d353-41f2-b938-ad8dbe00acc4
คำสำคัญ IMD Technological Infrastructure World Digital Competitiveness Ranking
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล สาธารณะ
วันที่สร้าง metadata 19 กรกฎาคม 2566
วันที่ปรับปรุง metadata 3 กุมภาพันธ์ 2567
ประเภทชุดข้อมูล ข้อมูลสถิติ
ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
อีเมลผู้ติดต่อ psdg0402@onde.go.th
วัตถุประสงค์ ดัชนี/ตัวชี้วัดระดับนานาชาติ
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ปี
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) 1
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ โลก
แหล่งที่มา https://www.imd.org/centers/world-competitiveness-center/rankings/
รูปแบบการเก็บข้อมูล CSV
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ข้อมูลสาธารณะ
สัญญาอนุญาต License not specified
URL ข้อมูลเพิ่มเติม https://www.imd.org/centers/world-competitiveness-center/rankings/
ภาษาที่ใช้ ไทย
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) 2022-08-23
การจัดจำแนก (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ)
    ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง ไม่แสดง
    ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
    ข้อมูลสถิติจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวิศวกรรม ประกอบด้วย กลุ่มสาขาวิชา - Natural sciences,mathematics and statistics - Information and Communication...
    วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 12 เมษายน 2567  
    xlsx csv api
    ข้อมูลสถิติจำนวนนักศึกษาปัจจุบันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวิศวกรรม ประกอบด้วย กลุ่มสาขาวิชา - Natural sciences,mathematics and statistics - Information and Communication...
    วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 12 เมษายน 2567  
    xlsx csv api
    การว่างงานระยะยาว (Long-term unemployment) เป็นตัวสะท้อนถึง ค่าแรงที่จะได้ลดลงทั้งผลกระทบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งอัตราการว่างงานในระยะยาวนั้น...
    วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 12 เมษายน 2567  
    csv xlsx