เด็กอายุ 5 – 11 ปี ที่ได้รับวัคซีนโควิด – 19
กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายในการให้วัคซีนโควิด 19 ในประชาชนไทย โดยเริ่มให้วัคซีนโควิด 19 ในเด็กอายุ 5-11 ปีเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2565 จากผลการศึกษาระดับภูมิคุ้มกันในเด็กที่ได้รับวัคซีนพบว่า ไม่ว่าจะฉีดด้วยสูตรไขว้วัคซีน Sinovac กับวัคซีน Pfizer หรือวัคซีน Pfizer 2 เข็ม สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ได้สูง แต่ระดับภูมิคุ้มกันลดต่ำลงภายหลังได้รับวัคซีนเข็มที่ 2 เป็นระยะเวลา 3 เดือนขึ้นไป ซึ่งอาจไม่เพียงพอ ต่อการป้องกันโรคโดยเฉพาะสายพันธุ์โอมิครอน และเมื่อฉีดกระตุ้นเป็นเข็มที่ 3 จะทำให้ระดับภูมิคุ้มกันสูงขึ้น มาก และป้องกันสายพันธุ์ที่กลายพันธุ์ได้ดีขึ้น โดยจากการศึกษาเปรียบเทียบในผู้ใหญ่พบว่า วัคซีนชนิด Pfizer กระตุ้นภูมิคุ้มกันได้สูงกว่าวัคซีนเชื้อตาย ซึ่งมีอัตราการเกิดอาการข้างเคียงมากกว่าวัคซีนเชื้อตาย แต่ไม่รุนแรง อย่างไรก็ตาม การฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นทุกชนิดสามารถลดความรุนแรงของโรคได้ดี ที่ประชุมคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ครั้งที่ 5/2565 วันที่ 2 สิงหาคม 2565 และ ที่ประชุมศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ครั้งที่ 476 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2565 มีมติให้คำแนะนำการฉีดวัคซีนโควิด 19 เข็มกระตุ้น ในเด็กอายุ 5-11 ปี เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันในกลุ่มเป้าหมายในสูงเพียงพอต่อการป้องกันการเจ็บป่วยรุนแรง และการระบาดของโรค โควิด 19 ในเด็กอายุ 5-11ปี จึงแนะนำแนวทางการพิจารณาการให้วัคซีนโควิด 19 เข็มกระตุ้นในเด็กอายุ 5-11 ปี ดังนี
ข้อมูลทรัพยากร : ${cur_meta.name}
ดาวน์โหลด ไปสู่ทรัพยากรวันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.last_modified} |
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.created} |
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล | ${cur_meta.mimetype} |
รหัสทรัพยากรข้อมูล | ${cur_meta.id} |
รายละเอียด | ${cur_meta.ori.description} |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำเนื้อหาข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_first_year_of_data} |
ปีล่าสุดที่จัดทำเนื้อหาข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_last_year_of_data} |
การจัดจำแนก |
|
${cur_meta.ori.resource_disaggregate_other} | |
หน่วยวัด | ${cur_meta.ori.resource_unit_of_measure} |
หน่วยตัวคูณ | ${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier} |
${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier_other} | |
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
วันที่เผยแพร่เนื้อหาข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_data_release_calendar} |
สถิติทางการ | ${cur_meta.ori.resource_official_statistics=='True'?'ใช่':'ไม่ใช่'} |
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล | f07629ef-85d1-471b-8b87-53abf081f931 |
---|---|
แท็ค |
จำนวนเด็กอายุ 5 – 11 ปี
ป้องกัน
วัคซีน
เด็ก
โควิด-19
|
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล | สาธารณะ |
วันที่สร้าง metadata | 14 มิถุนายน 2565 |
วันที่ปรับปรุง metadata | 15 กันยายน 2565 |
ประเภทชุดข้อมูล | ข้อมูลสถิติ |
ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ | กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข |
อีเมลสำหรับติดต่อ | plan@nswo.mail.go.th |
วัตถุประสงค์ |
|
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล | วัน |
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) | 1 |
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ | อำเภอ |
แหล่งที่มา | จากการฉีดวัควีน SQLite Moph_IC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ |
รูปแบบการเก็บข้อมูล | HTML |
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ | ข้อมูลสาธารณะ |
สัญญาอนุญาต | License not specified |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ไม่มี |
URL ข้อมูลเพิ่มเติม | https://nsn.moph.go.th/nsnq/index.php |
ภาษาที่ใช้ | ไทย |
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) | 2022-06-14 |
วันที่เผยแพร่ชุดข้อมูล | 2022-06-14 |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | 2563 |
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | 2565 |
การจัดจำแนก (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | ไม่มี |
หน่วยวัด (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | คน |
หน่วยตัวคูณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | หน่วย |
วิธีการคำนวณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | ไม่มี |
มาตรฐานการจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | ไม่มี |
สถิติทางการ | ไม่ใช่ |
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง | ไม่แสดง |
ตัวอย่างการใช้ข้อมูล
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลโรงงาน จำพวกที่ 3 กรุงเทพมหานคร ไม่รวมนิคมฯ
ข้อมูลโรงงาน จำพวกที่ 3 กรุงเทพมหานคร ไม่รวมนิคมฯ
การวิเคราะห์ข้อมูลรถขัดข้อง (Dashboard)
Dashboard แสดงสถิติรถขัดข้องบนทางพิเศษ