เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อ - Open Government Data of Thailand

เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อ

องค์กร : สำนักงานจังหวัดนครสวรรค์

จำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อ คือ เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เพื่อบริโภคเนื้อเป็นหลัก เนื้อสามารถกระทำได้หลายแบบหลายวิธี แล้วแต่ความเหมาะสมกับท้องถิ่นและทุนที่มีอยู่ เช่น 1.การเลี้ยงแบบปล่อยลาน วิธีนี้เหมาะสำหรับชนบทที่กว้างขวาง เช่น เลี้ยงตามหัวไร่ปลายนา มีไก่จำนวนน้อย ปล่อยให้หาอาหารตามธรรมชาติ ผู้เลี้ยงอาจจัดอาหารเพิ่มเติมถ้าหากอาหารไม่พอเพียง โดยจัดวางในภาชนะหรือจะโปรยให้กินวันละประมาณ 1-2 ครั้ง ไก่จะเกาะคอนนอนตามต้นไม่หรือในเล้า การเลี้ยงแบบนี้จะทำให้ต้นทุนการผลิตต่ำเพราะไม่ต้องลงทุนค่าอาหารมากนัก ผลผลิตที่ได้ก็ใช้เป็นอาหารในครอบครัว หากเหลือก็อาจขายเปลี่ยนเป็นเงินได้ 2.การเลี้ยงแบบจำกัดเขตหรือครึ่งเข้าครึ่งปล่อย เป็นวิธีที่ลงทุนน้อยใช้เลี้ยงไก่ได้ทั้งปริมาณน้อยและมาก โดยการทำรั้วเป็นลานต่อออกจากเล้าไก่ การเลี้ยงแบบนี้มักกักไก่ไว้ในเล้าและปล่อยให้ออกลานในบางโอกาส เจ้าของไก่จะจัดเตรียมอาหารและน้ำให้กินตลอดเวลา เนื่องจากไก่ไม่มีโอกาสออกไปหาอาหารตามธรรมชาติได้ 3.การเลี้ยงแบบเล้าหรือกรง วิธีเลี้ยงแบบนี้เหมาะสำหรับผู้ที่มีที่ดินจำกัด จึงปลูกสร้างเล้าหรือกรงให้ไก่อยู่ภายในโดยเฉพาะเพียงแห่งเดียว ขนาดกรงกว้างยาวเท่ากับ 3 * 2 เมตร ใส่ไก่ประมาณ 15-25 ตัว ขนาดพื้นที่และจำนวนไก่อาจผิดไปจากนี้บ้าง วัสดุก่อสร้างอาจใช้ไม่ไผ่เพราะหาได้ทั่วไป ราคาถูก วัสดุมุงหลังคาอาจเป็นจากหรือแฝก แต่ถ้าเลี้ยงมากๆ ก็อาจใช้สังกะสีหรือกระเบื้อง แทนเพื่อไม่ต้องซ่อมแซมบ่อยๆ ก็ได้

ข้อมูลทรัพยากร : ${cur_meta.name}

ดาวน์โหลด ไปสู่ทรัพยากร
วันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog ${cur_meta.last_modified}
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog ${cur_meta.created}
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล ${cur_meta.mimetype}
รหัสทรัพยากรข้อมูล ${cur_meta.id}
รายละเอียด ${cur_meta.ori.description}
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition}
ปีที่เริ่มต้นจัดทำเนื้อหาข้อมูล ${cur_meta.ori.resource_first_year_of_data}
ปีล่าสุดที่จัดทำเนื้อหาข้อมูล ${cur_meta.ori.resource_last_year_of_data}
การจัดจำแนก
  • ${ele}
${cur_meta.ori.resource_disaggregate_other}
หน่วยวัด ${cur_meta.ori.resource_unit_of_measure}
หน่วยตัวคูณ ${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier}
${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier_other}
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date}
วันที่เผยแพร่เนื้อหาข้อมูล ${cur_meta.ori.resource_data_release_calendar}
สถิติทางการ ${cur_meta.ori.resource_official_statistics=='True'?'ใช่':'ไม่ใช่'}
Data source cannot be displayed.
ข้อมูลทั้งหมด ${cur_meta.data.total.toLocaleString()} 0 รายการ
 100 500 1,000 รายการ

ข้อมูลเพิ่มเติม

รหัสชุดข้อมูล f34403fe-7c3a-4beb-a7c0-f6a69bb38fd0
แท็ค
ผู้เลี้ยง เกษตรกร ไก่ ไก่เนื้อ
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล สาธารณะ
วันที่สร้าง metadata 18 พฤษภาคม 2565
วันที่ปรับปรุง metadata 19 ธันวาคม 2567
ประเภทชุดข้อมูล ข้อมูลสถิติ
ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการปศุสัตว์
อีเมลสำหรับติดต่อ pvlo_nsw@dld.go.th
วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ชาติ
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ปี
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) 1
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ อำเภอ
แหล่งที่มา สำรวจจากระบบขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครสวรรค์
รูปแบบการเก็บข้อมูล
  • CSV
  • XLS/XLSX
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ข้อมูลสาธารณะ
สัญญาอนุญาต License not specified
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล ไม่มี
ภาษาที่ใช้ ไทย
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) 2022-05-18
วันที่เผยแพร่ชุดข้อมูล 2021-09-30
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2562
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2567
การจัดจำแนก (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ไม่มี
หน่วยวัด (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ราย
หน่วยตัวคูณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) หน่วย
วิธีการคำนวณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ไม่มี
มาตรฐานการจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ไม่มี
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง ไม่แสดง

ตัวอย่างการใช้ข้อมูล

ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

ข้อมูลรายงานสถิติจำนวนผู้เข้าชมสวนสัตว์ ปีงบประมาณ 2568

ข้อมูลรายงานสถิติจำนวนผู้เข้าชมสวนสัตว์ องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 31 มกราคม 2568
.. ..
ปริมาณขยะที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์

ปริมาณขยะที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ต่อปี

วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 29 มกราคม 2568
.. .. ..