รายงานสรุปโครงการรศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล
(ดำเนินโครงการในปี พ.ศ. 2556)ปัจจุบันประเทศไทยมีการนำเข้าน้ำมันดิบเฉลี่ย 900,000 บาร์เรล คิดเป็นเงินประมาณ 900,000 ล้านบาทต่อปีและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี การจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิงที่สามารถผลิตได้เองในประเทศ จึงเป็นหนทางหนึ่งในการที่จะพึ่งพาตนเองด้านพลังงาน ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเพาะปลูกพืช ดังนั้นจึงมีชีวมวลที่เหลือใช้เป็นจำนวนมาก ชีวมวลหรือวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรถือเป็นเชื้อเพลิงทางเลือกที่มีความสำคัญมากในประเทศเกษตรกรรมอย่างไทย เพราะไม่เพียงถูกนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรงหรือแปรรูปเป็นพลังงานทดแทนรูปแบบต่าง ๆ เท่านั้น หากแต่ในอนาคตประเทศเกษตรกรรมที่มีชีวมวลมากอาจมีความสามารถผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงได้เองจากชีวมวลเหล่านี้ เนื่องจากขณะนี้มีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงสังเคราะห์ชนิดใหม่ที่มีคุณสมบัติเหมือนน้ำมันหรือน้ำมันสังเคราะห์จากชีวมวล (Biomass to Liquid : BTL) แล้วในหลายประเทศ จึงสมควรที่จะต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล ซึ่งกระบวนการหลักสำหรับเปลี่ยนชีวมวลให้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิง คือ กระบวนการ Pyrolysis และ Fischer-Tropsch โดยที่ผ่านมาได้มีการศึกษาความเป็นไปได้ของกระบวนการ Fischer-Tropsch มาบ้างแล้ว ซึ่งพบว่าปัจจุบันยังไม่มีความคุ้มค่าต่อการลงทุนในเชิงธุรกิจ ดังนั้น กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน จึงเห็นสมควรที่จะต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล (Biomass to Liquid : BTL) ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับประเทศไทย
วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล (Biomass to Liquid: BTL) ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis
ข้อมูลทรัพยากร : ${cur_meta.name}
ดาวน์โหลด ไปสู่ทรัพยากรวันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.last_modified} |
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.created} |
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล | ${cur_meta.mimetype} |
รหัสทรัพยากรข้อมูล | ${cur_meta.id} |
รายละเอียด | ${cur_meta.ori.description} |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
หน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_data_collect} |
${cur_meta.ori.resource_data_collect_other} | |
วันที่เริ่มต้นสร้าง | ${cur_meta.ori.resource_created_date} |
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล | c79e9d0a-a7b6-4d74-a566-af388d0ad5b4 |
---|---|
แท็ค |
BTL
Biomass to Liquid
Fast Pyrolysis
ชีวมวล
|
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล | สาธารณะ |
วันที่สร้าง metadata | 29 กันยายน 2565 |
วันที่ปรับปรุง metadata | 21 สิงหาคม 2567 |
ประเภทชุดข้อมูล | ข้อมูลประเภทอื่นๆ |
เอกสารรายงานสรุปโครงการรศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล | |
ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ | กองพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพ |
อีเมลสำหรับติดต่อ | bioethanol@dede.go.th |
วัตถุประสงค์ |
|
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล | ตามเวลาจริง |
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ | ประเทศ |
แหล่งที่มา | รายงานสรุปโครงการรศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล (มหาวิทยาลัยสารคาม) |
รูปแบบการเก็บข้อมูล | |
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ | ข้อมูลสาธารณะ |
สัญญาอนุญาต | ครีเอทีฟคอมมอนส์ ไม่ใช้เพื่อการค้า (ไม่ระบุรุ่น) |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ไม่มี |
ผู้สนับสนุนหรือผู้ร่วมดำเนินการ | สถาบันการศึกษา |
หน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูล | ไม่มี |
ภาษาที่ใช้ |
|
วันที่เริ่มต้นสร้าง | 2022-09-29 |
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) | 2022-09-29 |
ข้อมูลอ้างอิง | ไม่ใช่ |
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง | แสดง |
ตัวอย่างการใช้ข้อมูล
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ปริมาณการจำหน่ายรายจังหวัด น้ำมันเบนซิน สาขาอุตสาหกรรม
ตารางแสดงปริมาณ น้ำมันเบนซิน ที่ผู้ค้าน้ำมันจำหน่ายให้ลูกค้าและผู้ใช้ในจังหวัดต่าง ๆ สาขา การขนส่ง รายเดือน
ครัวเรือนที่มีปัญหามิติด้านรายได้ ที่ได้รับการช่วยเหลือ
ข้อมูลการขับเคลื่อนการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ครัวเรือนที่มีปัญหามิติด้านรายได้ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่ได้รับการช่วยเหลือ...