ข้อมูลแหล่งโบราณคดี
ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีในประเทศไทยที่เผยแพร่ทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ทเกือบทั้งหมดเป็นข้อมูลเชิงการท่องเที่ยวและขาดการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล ดังนั้น การ “ยกระดับความน่าเชื่อถือ” และ “การระบุแหล่งที่มา” ของข้อมูลแหล่งโบราณคดีจึงเป็นเรื่องที่จำเป็นในยุคที่อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว เพราะไม่เช่นนั้นแล้ว ข้อมูลเรื่องแหล่งโบราณคดีในอินเทอร์เน็ตจะกลายเป็นข้อมูลที่ฉาบฉวยและขาดความน่าเชื่อถือ
เนื่องด้วยภารกิจหลักของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ประการหนึ่งคือเป็นคลังข้อมูลทางด้านมานุษยวิทยา ดังนั้นการดำเนินการ "ฐานข้อมูลแหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย” จึงเป็นการพัฒนาให้ศูนย์ฯ เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับค้นคว้าและเป็นคลังข้อมูลระดับประเทศเกี่ยวกับข้อมูลเชิงวิชาการของแหล่งโบราณคดีที่มีการอ้างอิงที่มาของข้อมูล
การทำเนื้อหาของแหล่งโบราณคดีสำหรับบรรจุลงฐานข้อมูลนั้น จะคัดเลือกแหล่งโบราณคดีที่มีนัยสำคัญทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ของแต่ละจังหวัดให้ครบทั้ง 77 จังหวัดก่อน โดยคัดเลือกประมาณ 2-3 แหล่งต่อจังหวัด เพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลเห็นว่า จังหวัดทั้ง 77 จังหวัดของประเทศไทยล้วนมีแหล่งโบราณคดีที่ไม่ว่าจะเก่าเป็นพันปีเป็นหมื่นปี หรือเก่าเพียงไม่กี่ร้อยหรือกี่สิบปี ต่างก็มีคุณค่าต่อการศึกษาความเป็นมาของคนในจังหวัดด้วยกันทั้งสิ้นและเมื่อได้ครบทั้ง 77 จังหวัดแล้ว ก็จะดำเนินการลงข้อมูลแหล่งโบราณคดีที่สำคัญอื่นๆ ที่ยังไม่ได้ทำเนื้อหาข้อมูลต่อไป
ข้อมูลทรัพยากร : ${cur_meta.name}
ดาวน์โหลด ไปสู่ทรัพยากรวันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.last_modified} |
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.created} |
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล | ${cur_meta.mimetype} |
รหัสทรัพยากรข้อมูล | ${cur_meta.id} |
รายละเอียด | ${cur_meta.ori.description} |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
หน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_data_collect} |
${cur_meta.ori.resource_data_collect_other} | |
วันที่เริ่มต้นสร้าง | ${cur_meta.ori.resource_created_date} |
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล | 2be9d157-16c3-422b-8370-a2a56b1c1045 |
---|---|
กลุ่มชุดข้อมูล | ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม |
แท็ค |
ท่องเที่ยว
ประวัติศาสตร์
โบราณคดี
|
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล | สาธารณะ |
วันที่สร้าง metadata | 14 ธันวาคม 2563 |
วันที่ปรับปรุง metadata | 17 มีนาคม 2566 |
ประเภทชุดข้อมูล | ข้อมูลระเบียน |
ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ | ผู้ดูแลระบบ |
อีเมลสำหรับติดต่อ | webmaster@sac.or.th |
วัตถุประสงค์ | ไม่ทราบ |
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล | ไม่มีการปรับปรุงหลังจากการจัดเก็บข้อมูล |
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) | 1 |
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ | ประเทศ |
แหล่งที่มา | ไม่ทราบ |
รูปแบบการเก็บข้อมูล | ไม่ทราบ |
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ | ข้อมูลสาธารณะ |
สัญญาอนุญาต | Creative Commons Attributions |
ภาษาที่ใช้ | ไทย |
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง | ไม่แสดง |
ตัวอย่างการใช้ข้อมูล
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
การสำรวจปริมาณโซเดียมในอาหาร
การสำรวจปริมาณโซเดียมในอาหารด้วยเครื่องวัดความเค็ม (Chem meter) เป็นการสำรวจปริมาณโซเดียมในอาหารด้วยเครื่องวัดความเค็ม ระดับจังหวัด กลุ่มเป้าหมาย : บุคลากรสาธารณสุข
การตอบโต้ประเด็นข่าว
ข้อมูลประเด็นที่เป็นเท็จ การตอบโต้ประเด็นข่าว ข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือบิดเบือน