กลุ่มชุดข้อมูล
แท็ค
-
ผู้สูงอายุ (20)
-
โรงเรียนผู้สูงอายุ (2)
-
กลุ่มเปราะบาง (1)
-
การรับข้อมูลข่าว (1)
-
การรู้เท่าทันสื่อ (1)
-
การเปิดรับสื่อ (1)
-
คนพิการ (1)
-
คัดกรอง (1)
-
จิตอาสา (1)
-
ชุมชนต้นแบบ ผู้สูงอายุ (1)
รูปแบบ
องค์กร
สังคมและสวัสดิการ
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2566-2570) เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 3/2567 (24 )
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2566-2570) เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 3/2567
ผู้สูงอายุสมัครเป็นจิตอาสา (8 )
จำนวนผู้สูงอายุที่สมัครเป็นจิตอาสา ตามโครงการจิตอาสาพระราชทาน เพื่อให้ประชาชนทุกช่วงวัยที่สมัครใจช่วยเหลือผู้อื่น ยอมเสียสละเวลา แรงกาย แรงใจ...
จำนวนผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (31 )
จำนวนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน ติดเตียง ติดบ้าน
ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองติดสังคม/ติดบ้าน/ติดเตียง (48 )
ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง ADL แยกเป็นติดบ้าน ติดเตียง ติดสังคม แยกรายอำเภอ
จำนวนแกนนำเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (5 )
มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพคณะกรรมการบริหาร ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ และเครือข่ายการทำงานในพื้นที่...
ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวตามลำพัง/ไม่มีผู้ดูแล/ถูกทอดทิ้ง (5 )
ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่คนเดียวตามลำพัง/ไม่มีผู้ดูแล/ถูกทอดทิ้ง โดยไม่มีผู้ดูแล
ผู้สูงอายุที่ได้รับการช่วยเหลือจากการที่มีที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมต่อการพักอาศัย (4 )
ผู้สูงอายุที่ได้รับการช่วยเหลือจากการที่มีที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมต่อการพักอาศัย เช่น ที่อยู่อาศัยไม่มั่นคงถาวร จากภาครัฐ ภาคเอกชน ในการซ่อมบ้าน หรือสร้างบ้าน
ศูนย์การเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ (6 )
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ(ศพอส.) เป็นรูปแบบหนึ่งของสวัสดิการผู้สูงอายุ ซึ่งมาจากกระบวนการมีส่วนร่วมจากชุมชนประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น...
ผู้สูงอายุที่ต้องดำรงชีพด้วยการเร่ร่อน ขอทาน (3 )
ผู้สูงอายุที่ไม่มีครอบครัว หรือ หนีจากครอบครัว แล้วต้องดำรงชีพด้วยการเร่ร่อน ขอทาน
ผู้สูงอายุพิการที่จดทะเบียน (2 )
ผู้สูงอายุพิการที่จดทะเบียนบัตรคนพิการ
สมาชิกโรงเรียนผู้สูงอายุ (3 )
สมาชิกใน โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นการจัดการศึกษา อีกรูปแบบหนึ่งที่ต้องการให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต เกิดจากแนวคิดที่ตระหนักถึงคุณค่า...
จำนวนชุมชนอยู่ดีต้นแบบเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (2 )
จำนวนชุมชนที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ ต้นแบบเตรียมรองรับสังคมสูงวัย แบ่ง เป็นระดับ A คือ ดีมาก/ดีเด่น , B คือ ดี , C คือ พอใช้ (เกณฑ์พื้นฐาน)
ผู้สูงอายุอยู่กับครอบครัวยากจน ยากลำบาก (5 )
ผู้สูงอายุอยู่กับครอบครัวยากจน ยากลำบาก ที่รายได้ของครอบครัวไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ
ผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพ (8 )
ผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีบริบูรณ์ที่จะได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่ต้องดูแลบุคคลในครอบครัวที่เป็นเด็ก ผู้ป่วยเรื้อรัง คนพิการ และจิตเวช (2 )
ผู้สูงอายุที่ต้องดูแลบุคคลในครอบครัวที่เป็นเด็ก ผู้ป่วยเรื้อรัง คนพิการ และจิตเวช หรือ อื่นๆ
ผู้สูงอายุที่ถูกกระทำความรุนแรงทางร่างกายและจิตใจ (3 )
ผู้สูงอายุที่ถูกกระทำความรุนแรงทางร่างกายและจิตใจ ทั้งในครอบครัวและนอกครอบครัว
โรงเรียนผู้สูงอายุ (6 )
ที่ตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นการจัดการศึกษา อีกรูปแบบหนึ่งที่ต้องการให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต เกิดจากแนวคิดที่ตระหนักถึงคุณค่า...
จำนวนภูมิปัญญาผู้สูงอายุ (4 )
เป็นของดีมีคุณค่าของผู้สูงอายุไม่ว่าจะเป็นเรื่องแพทย์แผนไทย สมุนไพร นวดแผนโบราณ การเกษตร ศิลปะ จักสาน การดนตรี ทอผ้า ข้าวปลาอาหารทั้งหวานคาว ฯลฯ...
ผู้สูงอายุที่มีที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมต่อการพักอาศัย (4 )
ผู้สูงอายุที่มีที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมต่อการพักอาศัย เช่น ที่อยู่อาศัยไม่มั่นคงถาวร
การสำรวจพฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารของกลุ่มเปราะบาง (55 )
ข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอียดการยืนยันว่าผลผลิตเสร็จสมบูรณ์ (เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีคุณภาพในระดับที่ต้องการและพร้อมใช้งาน) ยกตัวอย่าง (1) ผลการสำรวจ (2) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย