มาตรฐานทักษะวิชาชีพไอซีที
สดช. ได้ดำเนินการศึกษา และปรับปรุงมาตรฐานวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งแนวปฏิบัติและมาตรฐานวิชาชีพด้านปัญญาประดิษฐ์ในต่างประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ตั้งแต่ปี 2556 - 2564
โครงการระยะที่ 1 (ดำเนินการและเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2555 – 2556) เป็นการศึกษา เพื่อพัฒนาคำจำกัดความและระดับความสามารถสำหรับกลุ่มทักษะวิชาชีพไอซีที 5 กลุ่ม ได้แก่
- การพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development)
- การบริหารจัดการโครงการด้านไอซีที (ICT Project Management)
- การออกแบบสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture Design)
- การบริหารเครือข่ายและระบบ (Network and System Administration)
- ความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศและเครือข่าย (Information System and Network Security)
โครงการระยะที่ 2 (ดำเนินการและเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2557 – 2558) เป็นการศึกษา เพื่อปรับปรุงคำจำกัดความของทักษะวิชาชีพไอซีทีที่มีการดำเนินการไว้ในโครงการระยะที่ 1 และพัฒนาคำจำกัดความและระดับความสามารถสำหรับกลุ่มทักษะวิชาชีพไอซีทีเพิ่มเติมอีก 2 กลุ่ม ได้แก่
- การประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing)
- การประมวลผลแบบเคลื่อนที่ (Mobile Computing)
โครงการระยะที่ 3 (ดำเนินการและเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2561) เป็นการศึกษาเพื่อปรับปรุงคำจำกัดความของทักษะวิชาชีพไอซีทีที่มีการดำเนินการไว้ในโครงการระยะที่ 1 และ 2 และพัฒนาคำจำกัดความและระดับความสามารถสำหรับกลุ่มทักษะวิชาชีพไอซีทีเพิ่มเติมอีก 3 กลุ่ม ได้แก่
- ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
- ธุรกิจทางสื่อสังคม (Social Business)
- การเชื่อมต่อของสรรพสิ่ง (Internet of Things or IoT)
โครงการระยะที่ 4 (พ.ศ. 2564) เป็นการศึกษาเพื่อปรับปรุงคำจำกัดความของทักษะวิชาชีพไอซีทีที่มีการดำเนินการไว้ในโครงการระยะที่ 1-3 และพัฒนาคำจำกัดความและระดับความสามารถสำหรับกลุ่มทักษะวิชาชีพไอซีทีเพิ่มเติมอีก 1 กลุ่ม อันได้แก่
- ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
-
การศึกษามาตรฐานทักษะวิชาชีพไอซีที ด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในอาเซียน 20212 downloads
-
Study on ASEAN ICT Skill Standard for Artificial Intelligence (AI) 20214 downloads
-
กรอบมาตรฐานทักษะวิชาชีพไอซีทีในอาเซียน 20185 downloads
-
ASEAN ICT Skill Standard 20182 downloads
-
กรอบมาตรฐานวิชาชีพ คำนิยาม และการรับรองมาตรฐานด้าน ICT สำหรับอาเซียน 20132 downloads
-
ASEAN ICT Skill Standards Definition and Certification 20133 downloads
Resource Info : ${cur_meta.name}
Download Go to resourceResource last updated date | ${cur_meta.last_modified} |
Resource creation date | ${cur_meta.created} |
Resource format | ${cur_meta.mimetype} |
Resource ID | ${cur_meta.id} |
Description | ${cur_meta.ori.description} |
Accessible Condition | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
Data Collect | ${cur_meta.ori.resource_data_collect} |
${cur_meta.ori.resource_data_collect_other} | |
Created date | ${cur_meta.ori.resource_created_date} |
Last updated date | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
Additional Info
Data Key | 45628c11-7dcf-443c-b10d-95b7c8fa5d5b |
---|---|
Groups | วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรม |
Tags |
AI
ASEAN
ICT
Skill Standard
ปัญญาประดิษฐ์
มาตรฐานทักษะ
วิชาชีพ
ไอซีที
|
Visibility | Public |
Dataset create date | October 17, 2021 |
Maintain date | April 2, 2024 |
Data Type | ข้อมูลประเภทอื่นๆ |
Contact Person | กองขับเคลื่อนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ |
Contact Email | ded@onde.go.th |
Objective | พันธกิจหน่วยงาน |
Update Frequency Unit | ไม่มีการปรับปรุงหลังจากการจัดเก็บข้อมูล |
Geo Coverage | ทวีป/กลุ่มประเทศในทวีป |
Data Source | กองขับเคลื่อนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ |
Data Format | |
Data Category | ข้อมูลสาธารณะ |
License | Open Data Common |
Accessible Condition | ไม่มี |
Data Support | หน่วยงาน/องค์กรระหว่างประเทศ |
Data Language |
|
Created date | 2021-10-28 |
Last updated date | 2021-10-28 |
High Value Dataset | No Show |
Showcases
Related
จำนวนของนักทัศนาจร
จำนวนนักทัศนาจรชาวไทยและชาวต่างชาติ ที่มาเยื่อนชั่วคราว ซึ่งพักอยู่ ณ จังหวัดตรัง น้อยกว่า 24 ชั่วโมง และไม่พักค้างคืน
เครือข่ายชุมชน
“เครือข่ายชุมชน” หมายความว่า กลุ่มองค์กรชุมชนที่มีการรวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะกระทำกิจการอย่างหนึ่งอย่างใด เพื่อประโยชน์ขององค์กรชุมชนในกลุ่มนั้น