ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
การฝากครรภ์คุณภาพ หมายถึง : การบริการฝากครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์รายปกติที่ไม่มีความเสี่ยง โดยผ่านการคัดกรองและประเมินความเสี่ยง พร้อมได้รับความรู้ตามมาตรฐานโรงเรียนพ่อแม่ ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้รับวิตามิน ฯลฯ ตามสิทธิประโยชน์ หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการประเมินไม่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้มาฝากครรภ์ตามนัด จำนวน 5 ครั้ง ดังนี้
การนัดครั้งที่ 1 เมื่ออายุครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์
การนัดครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 13 - < 20 สัปดาห์
การนัดครั้งที่ 3 เมื่ออายุครรภ์ 20 - < 26 สัปดาห์
การนัดครั้งที่ 4 เมื่ออายุครรภ์ 26 - < 32 สัปดาห์
การนัดครั้งที่ 5 เมื่ออายุครรภ์ 32 - 40 สัปดาห์
หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง หมายถึง : หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ 20 จังหวัด ทั่วประเทศไทย ได้แก่ เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน ตาก สุโขทัย พิษณุโลก เพชรบูรณ์ อุทัยธานี กำแพงเพชร ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และเลย
-
Metadata_ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงที่...1 downloads
-
Datadic_ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงที่ไ...0 downloads
-
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงที่ได้รับการ...0 downloads
-
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงที่ได้รับการ...0 downloads
ข้อมูลทรัพยากร : ${cur_meta.name}
ดาวน์โหลด ไปสู่ทรัพยากรวันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.last_modified} |
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.created} |
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล | ${cur_meta.mimetype} |
รหัสทรัพยากรข้อมูล | ${cur_meta.id} |
รายละเอียด | ${cur_meta.ori.description} |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำเนื้อหาข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_first_year_of_data} |
ปีล่าสุดที่จัดทำเนื้อหาข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_last_year_of_data} |
การจัดจำแนก |
|
${cur_meta.ori.resource_disaggregate_other} | |
หน่วยวัด | ${cur_meta.ori.resource_unit_of_measure} |
หน่วยตัวคูณ | ${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier} |
${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier_other} | |
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
วันที่เผยแพร่เนื้อหาข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_data_release_calendar} |
สถิติทางการ | ${cur_meta.ori.resource_official_statistics=='True'?'ใช่':'ไม่ใช่'} |
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล | 5d5510b4-5acd-4c2c-a517-e94fe9aae19a |
---|---|
กลุ่มชุดข้อมูล | สาธารณสุข |
แท็ค |
กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง
บนพื้นที่สูง
ฝากครรภ์
ฝากครรภ์ 5 ครั้ง
ฝากครรภ์คุณภาพ
หญิงตั้งครรภ์
|
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล | สาธารณะ |
วันที่สร้าง metadata | 3 พฤษภาคม 2567 |
วันที่ปรับปรุง metadata | 23 ธันวาคม 2567 |
ประเภทชุดข้อมูล | ข้อมูลสถิติ |
ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ | กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ |
อีเมลสำหรับติดต่อ | hhdc@anamai.mail.go.th |
วัตถุประสงค์ | อื่นๆ |
พันธกิจหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพ ประชากรกลุ่มเปราะบางและด้อยโอกาสของสังคม | |
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล | เดือน |
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) | 1 |
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ | ตำบล |
แหล่งที่มา | ระบบสารสนเทศสนับสนุนด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยกลุ่มชาติพันธุ์ ชายขอบ และแรงงานข้ามชาติ |
รูปแบบการเก็บข้อมูล |
|
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ | ข้อมูลสาธารณะ |
สัญญาอนุญาต | Open Data Common |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ไม่มี |
URL ข้อมูลเพิ่มเติม | https://hhdclampang.anamai.moph.go.th:8080/hhdcdashboard/hdc/anc5 |
ภาษาที่ใช้ |
|
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) | 2024-05-03 |
วันที่เผยแพร่ชุดข้อมูล | 2024-05-03 |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | 2557 |
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | 2567 |
การจัดจำแนก (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | |
หน่วยวัด (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | ร้อยละ |
หน่วยตัวคูณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | ร้อย |
วิธีการคำนวณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | (A/B) x 100 A = จำนวน หญิงตั้งครรภ์ในกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง คลอดตาม B ที่ฝากครรภ์คุณภาพ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ B = จำนวน หญิงตั้งครรภ์ในกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงที่คลอดในเขตรับผิดชอบทั้งหมดในเวลาเดียวกัน |
มาตรฐานการจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) | ไม่ใช่ |
สถิติทางการ | ไม่ใช่ |
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง | ไม่แสดง |
ตัวอย่างการใช้ข้อมูล
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
การสำรวจปริมาณโซเดียมในอาหาร
การสำรวจปริมาณโซเดียมในอาหารด้วยเครื่องวัดความเค็ม (Chem meter) เป็นการสำรวจปริมาณโซเดียมในอาหารด้วยเครื่องวัดความเค็ม ระดับจังหวัด กลุ่มเป้าหมาย : บุคลากรสาธารณสุข
การตอบโต้ประเด็นข่าว
ข้อมูลประเด็นที่เป็นเท็จ การตอบโต้ประเด็นข่าว ข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือบิดเบือน