ข้อมูลเรือนพื้นถิ่นในประเทศไทย
เรือนพื้นถิ่น คือ สถาปัตยกรรมซึ่งเป็นของชาวบ้าน สร้างโดยชาวบ้าน มีการถ่ายทอดระบบและวิธีการต่อเนื่องกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ สร้างขึ้นมาโดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิต และระบบนิเวศของแต่ละพื้นที่ มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการปรับตัวให้เกิดความสมดุลระหว่างวิถีชีวิตกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การศึกษาเกี่ยวกับเรือนพื้นถิ่น คือ การพยายามที่จะศึกษาคุณค่าของสถาปัตยกรรมนั้นๆ โดยพิจารณาถึงการผสมผสานของสถาปัตยกรรมแต่ละรูปแบบกับวิถีชีวิต ระบบนิเวศ และความต่อเนื่องของอายุกาลที่สืบทอดกันมาของแต่ละกลุ่มชน นอกจากนั้นยังศึกษาถึงการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมพื้นถิ่นโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเก็บรักษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นดั้งเดิมให้ได้โดยมีการปรับแต่งหรือเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด
อนึ่ง จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ได้มอบทุนอุดหนุนการวิจัยในหัวข้อ เรือนพื้นถิ่นในประเทศไทย นี้จำนวนหลายเรื่องด้วยกัน มีผลผลิตเป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรือนพื้นถิ่นในประเทศไทยจากการสำรวจและเก็บข้อมูลภาคสนามอย่างละเอียดแม่นยำ หมายรวมถึงผลงานหัวข้อเดียวกันนี้ที่ศึกษาโดยนักวิจัยคนอื่นๆ ของหน่วยงานอื่นซึ่งมีจำนวนมาก แต่ไม่เคยมีการรวบรวมและเผยแพร่ในรูปแบบอื่นๆ นอกเหนือจากงานวิจัยที่เป็นรูปเล่ม สมควรที่จะได้รับการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปคลังข้อมูลดิจิทัล มีระบบการจัดเก็บ รวมรวม และเผยแพร่แบบออนไลน์ เพื่อให้ผู้ที่กำลังค้นคว้าวิจัยและผู้สนใจทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น อันจะก่อให้เกิดการนำข้อมูลไปต่อยอดหรือประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าหรือประกอบอาชีพได้ จึงจัดทำ "งานพัฒนาฐานข้อมูลเรือนพื้นถิ่นในประเทศไทย" ขึ้นตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 โดยเริ่มจากข้อมูลเรือนพื้นถิ่นในประเทศไทยภาคกลาง เป็นอาทิ ตามด้วยภาคเหนือ และภาคใต้ แล้วจึงได้จัดทำฐานข้อมูลออนไลน์และเว็บไซต์ฐานข้อมูลเรือนพื้นถิ่นในประเทศไทย เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ผู้ที่กำลังศึกษาค้นคว้าวิจัยและผู้สนใจทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว สืบเนื่องมาจนถึงปีงบประมาณปัจจุบัน
ข้อมูลทรัพยากร : ${cur_meta.name}
ดาวน์โหลด ไปสู่ทรัพยากรวันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.last_modified} |
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.created} |
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล | ${cur_meta.mimetype} |
รหัสทรัพยากรข้อมูล | ${cur_meta.id} |
รายละเอียด | ${cur_meta.ori.description} |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
หน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_data_collect} |
${cur_meta.ori.resource_data_collect_other} | |
วันที่เริ่มต้นสร้าง | ${cur_meta.ori.resource_created_date} |
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล | ea25ac30-bdd0-49d3-bb67-42a7ddd4e694 |
---|---|
กลุ่มชุดข้อมูล | ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม |
แท็ค |
ธรรมชาติ
บ้าน
ภูมิปัญญา
วิถีชีวิต
สถาปัตยกรรม
สิ่งแวดล้อม
เรือน
|
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล | สาธารณะ |
วันที่สร้าง metadata | 14 ธันวาคม 2563 |
วันที่ปรับปรุง metadata | 17 มีนาคม 2566 |
ประเภทชุดข้อมูล | ข้อมูลระเบียน |
ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ | ผู้ดูแลระบบ |
อีเมลสำหรับติดต่อ | webmaster@sac.or.th |
วัตถุประสงค์ | ไม่ทราบ |
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล | ไม่มีการปรับปรุงหลังจากการจัดเก็บข้อมูล |
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) | 1 |
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ | ประเทศ |
แหล่งที่มา | ไม่ทราบ |
รูปแบบการเก็บข้อมูล | ไม่ทราบ |
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ | ข้อมูลสาธารณะ |
สัญญาอนุญาต | Creative Commons Attributions |
ภาษาที่ใช้ | ไทย |
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง | ไม่แสดง |
ตัวอย่างการใช้ข้อมูล
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2566-2570) เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 3/2567
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2566-2570) เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 3/2567
จำนวนของนักทัศนาจร
จำนวนนักทัศนาจรชาวไทยและชาวต่างชาติ ที่มาเยื่อนชั่วคราว ซึ่งพักอยู่ ณ จังหวัดตรัง น้อยกว่า 24 ชั่วโมง และไม่พักค้างคืน