ความชุกของความไม่มั่นคงทางอาหารของประชากร ในระดับปานกลางหรือรุนแรง และระดับรุนแรง - Open Government Data of Thailand
ขนาดตัวอักษร |    
ความชุกของความไม่มั่นคงทางอาหารของประชากร ในระดับปานกลางหรือรุนแรง และระดับรุนแรง
คะแนนความนิยม
องค์กร : สำนักงานสถิติแห่งชาติ
facebook   twiter

ร้อยละของประชากรที่ประสบกับความไม่มั่นคงทางอาหารในระดับปานกลางหรือรุนแรง และระดับรุนแรง ในระหว่างช่วงเวลาอ้างอิง โดยใช้เกณฑ์การวัดประสบการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหาร (Food Insecurity Experience Scale: FIES) ซึ่งเป็นวิธีการวัดมาตรฐานที่จัดทำขึ้นโดย FAO โดยการถามประชากรโดยตรงเกี่ยวกับประสบการณ์เกี่ยวกับความไม่มั่นคงทางอาหาร

ความไม่มั่นคงทางอาหารในระดับปานกลาง สามารถใช้ทำนายรูปแบบเงื่อนไขด้านสุขภาพของประชากรที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกิน ซึ่งมีความสัมพันธ์กับภาวะขาดแร่ธาตุวิตามิน (Micronutrient deficiency) และอาหารที่ไม่สมดุล ส่วนความไม่มั่นคงทางอาหารระดับรุนแรงนั้น สะท้อนความน่าจะเป็นของการได้รับอาหารที่ลดลงจนนำไปสู่ภาวะโภชนาการต่ำ (undernutrition) รวมไปถึงความอดอยาก (hunger) ของประชากร

Data source cannot be displayed.
ความชุกของความไม่มั่นคงทางอาหารของประชากร ในระดับปานกลางหรือรุนแรง และระดับรุนแรง
มุมมอง :
Visualization
{{current_url}}?id={{cur_meta.id}}&is_fullscreen=1
ข้อมูลทรัพยากร : {{cur_meta.name}}
วันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล
รหัสทรัพยากรข้อมูล
รายละเอียด
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล
ปีที่เริ่มต้นจัดทำเนื้อหาข้อมูล
ปีล่าสุดที่จัดทำเนื้อหาข้อมูล
การจัดจำแนก
หน่วยวัด
หน่วยตัวคูณ
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด
วันที่เผยแพร่เนื้อหาข้อมูล
สถิติทางการ
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล 7cff1cc4-1bad-42cd-9a0a-ed1f82a20e4c
คำสำคัญ FIES SDG02 zerohunger ความมั่นคงทางอาหาร ความไม่มั่นคงทางอาหาร อาหาร
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล สาธารณะ
วันที่สร้าง metadata 12 เมษายน 2567
วันที่ปรับปรุง metadata 12 เมษายน 2567
ประเภทชุดข้อมูล ข้อมูลสถิติ
ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มวิเคราะห์และพัฒนาสารสนเทศด้านสังคม
อีเมลผู้ติดต่อ social.indicator.tnso@gmail.com
วัตถุประสงค์ ดัชนี/ตัวชี้วัดระดับนานาชาติ
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ปี
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) 2
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ ประเทศ
แหล่งที่มา การสำรวจผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ต่อครัวเรือนในประเทศไทย พ.ศ. 2565
รูปแบบการเก็บข้อมูล CSV
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ข้อมูลสาธารณะ
สัญญาอนุญาต Open Data Common
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล ไม่มี
URL ข้อมูลเพิ่มเติม https://www.nso.go.th/nsoweb/nso/motion_graphics_view/bt
ภาษาที่ใช้ ไทย
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) 2023-06-15
วันที่เผยแพร่ชุดข้อมูล 2023-06-15
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2566
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2566
การจัดจำแนก (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ)
  • อายุ/กลุ่มอายุ
  • ระดับการศึกษา
  • อาชีพ
  • อุตสาหกรรม/ประเภทกิจการ
  • ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่
  • อื่นๆ
ดัชนีความมั่งคั่งของครัวเรือน
หน่วยวัด (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ร้อยละ
หน่วยตัวคูณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) หน่วย
วิธีการคำนวณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) วิเคราะห์และประมวลผลผ่าน Rasch Model โดยใช้โปรแกรม R (RM.weights package) และ FIES Application จากชุดคำถาม FIES จำนวน 8 ข้อ ซึ่งวัดประสบการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหารในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
มาตรฐานการจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ไม่มี
สถิติทางการ ไม่ใช่
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง ไม่แสดง
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอียดของโครงการ 1. ความเป็นมา 2. วัตถุประสงค์ 3. ประโยชน์ 4. คาบการปฏิบัติงานและระดับการเสนอผล 5. คุ้มรวม 6. ระเบียบวิธีและการดำเนินการสำรวจ
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 12 เมษายน 2567  
pdf
โครงการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย 1. ร้อยละของการให้ลูกกินนมแม่ภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด 2. ร้อยละของทารกอายุต่ำกว่า 6 เดือนที่กินนมแม่อย่างเดียว 3. ร้อยละของเด็กอายุ 6...
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 12 เมษายน 2567  
json csv
สํานักงานสถิติแห่งชาติ ได้จัดเก็บข้อมูลด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากร เป็นครั้งแรก พ.ศ. 2548 ดําเนินการสํารวจทุก 4 ปี คือ พ.ศ. 2548 2552 2556 และ 2560 รวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง...
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 12 เมษายน 2567  
pdf