องค์ความรู้ทางวัฒนธรรม ศิลปะวัฒนธรรม วิถีชีวิต - Open Government Data of Thailand
ขนาดตัวอักษร |    
องค์ความรู้ทางวัฒนธรรม ศิลปะวัฒนธรรม วิถีชีวิต
คะแนนความนิยม
องค์กร : สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดบึงกาฬ
facebook   twiter

ข่าวสาร ข่าวประชาสัมพันธ์ การเงินและพัสดุ ข้อมูลสถานประกอบกิจการ แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ภาพกิจกรรม อินโฟกราฟิกมาตรการป้องกันไวรัสโควิด-19

กิจกรรม "วัฒนธรรมสานฝัน ปันน้ำใจ คนไทย ไม่ทิ้งกัน“ มอบสิ่งของที่จำเป็น ข้าวสาร อาหารแห้ง และน้ำดื่ม
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดบึงกาฬ จัดการประชุมสร้างความรู้ความเข้าใจ ผู้นำทางศาสนา/ผู้นำชุมชน ตามโครงการพลังบวร
นายวิสูตร ดวงสิมา วัฒนธรรมจังหวัดบึง กาฬ พร้อมข้าราชการเจ้าหน้าที่ รับ-มอบ สิ่งของเพื่อนำไปมอบให้กับ ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

องค์ความรู้ทางวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น อาหารพื้นเมือง โบราณสถานและวัตถุ ศิลปะการแสดง สินค้าทางวัฒนธรรม ชาติพันธุ์
พิธีสรงน้ำหลวงพ่อพระใหญ่ สืบสานประเพณีแห่น้ำจั้น ประเพณีสร้างปราสาทผึ้ง ถวายหลวงพ่อพระใหญ่(วัดโพธาราม)

มัลติมีเดีย คลังรูป วีดีโอ เอกสารดาวน์โหลด ขอใบอนุญาตประกอบกิจการภาพยนต์ฯ E-book คลิปเสียงมาตรการป้องกันไวรัสโควิด-19
รับการตรวจราชการ เครือข่ายเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม

องค์ความรู้ทางวัฒนธรรม >> สินค้าทางวัฒนธรรม ฮอก วันที่ 12 มิ.ย. 2556

ฮอกวัว ฮอกควาย (กระดิ่ง) ทำไม้จากไม้เนื้อแข็ง หรือโลหะ ใช้สำหรับคล้องคอวัว คอควายนำมาเหลา ตกแต่ง ให้เป็นรูปกลม รี แล้วแต่งขนาดที่ต้องการ ขนาดของฮอก ถ้าเป็นขนาดใหญ่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ ๕ – ๖ นิ้ว ขนาดกลาง๓ -๔ นิ้ว ขนาดเล็ก ๒ นิ้ว ฮอกมีรูปร่างหลายอย่าง เช่น ฮอกที่มีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีมุมโค้งกลมเล็กน้อย มีค้อนหลาย ๆ ตัวห้อยอยู่ข้างใน ตรงกลางเหมือนระฆังมักใช้แขวน วัว ตัวที่เป็นจ่าฝูง เพราะมีเสียงดังกังวาล ฮอกที่แขวนเป็นพวงเรียกว่า หม่ากะหล๊ก การเลี้ยงสัตว์สมัยโบราณจะเลี้ยงโดยให้หากินเอง ด้วยการปล่อยให้กินหญ้าตามป่า ตามไหล่เขา ดังนั้นสัตว์ ชาวบ้านจึงใช้ฮอกเป็นสัญญาณ ให้รู้ตำแหน่งของของวัว ควาย ว่าอยู่ในตำแหน่งไหน ปัจจุบันจะพบเห็นฮอกวัว ฮอกควาย ถูกนำไปจัดเก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์ เพื่อให้คนรุ่นหลังได้รู้จัก

Data source cannot be displayed.
องค์ความรู้ทางวัฒนธรรม ศิลปะวัฒนธรรม วิถีชีวิต
มุมมอง :
Visualization
{{current_url}}?id={{cur_meta.id}}&is_fullscreen=1
ข้อมูลทรัพยากร : {{cur_meta.name}}
วันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล
รหัสทรัพยากรข้อมูล
รายละเอียด
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล
หน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูล
วันที่เริ่มต้นสร้าง
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล 5eaac3dc-2cb1-4c4f-a9f0-f34d633a4990
คำสำคัญ วิถีชีวิต ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล สาธารณะ
วันที่สร้าง metadata 29 กรกฎาคม 2564
วันที่ปรับปรุง metadata 31 ตุลาคม 2564
ประเภทชุดข้อมูล ข้อมูลระเบียน
ชื่อผู้ติดต่อ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดบึงกาฬ
อีเมลผู้ติดต่อ buengkancul@gmail.com
วัตถุประสงค์ ไม่ทราบ
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ไม่มีการปรับปรุงหลังจากการจัดเก็บข้อมูล
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) 1
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ จังหวัด
แหล่งที่มา ไม่ทราบ
รูปแบบการเก็บข้อมูล ไม่ทราบ
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ข้อมูลสาธารณะ
สัญญาอนุญาต Creative Commons Attributions
ภาษาที่ใช้ ไทย
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง ไม่แสดง
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
เรือนพื้นถิ่น คือ สถาปัตยกรรมซึ่งเป็นของชาวบ้าน สร้างโดยชาวบ้าน มีการถ่ายทอดระบบและวิธีการต่อเนื่องกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ สร้างขึ้นมาโดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น...
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 17 มีนาคม 2566  
csv json xlsx
GIS (Geographic Information System) หรือเรียกว่า ระบบภูมิสารสนเทศ มรดกศิลปวัฒนธรรม เป็นระบบที่มีลักษณะข้อมูลเชิงพื้นที่ ภาพ แผนที่ หรือข้อมูลที่มีพิกัดตำแหน่ง...
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 17 กุมภาพันธ์ 2566  
csv
GIS (Geographic Information System) หรือเรียกว่า ระบบภูมิสารสนเทศ มรดกศิลปวัฒนธรรม เป็นระบบที่มีลักษณะข้อมูลเชิงพื้นที่ ภาพ แผนที่ หรือข้อมูลที่มีพิกัดตำแหน่ง...
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 16 ธันวาคม 2565  
csv